|
|
|
|
องค์การบริหารส่วนตำบลนาเสียว ตั้งอยู่ทางทิศเหนือของอำเภอเมือง จังหวัดชัยภูมิ ห่างจากตัวจังหวัดประมาณ 16 กิโลเมตร มีพื้นที่ทั้งหมด 66,578.50 ไร่ หรือประมาณ 106.54 ตารางกิโลเมตร |
|
|
|
|
|
|
องค์การบริหารส่วนตำบลนาเสียว ได้รับจัดตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2540 ตามประกาศ กระทรวงมหาดไทย เรื่อง จัดตั้งองค์การบริหารส่วนตำบล ลงวันที่ 16 ธันวาคม 2539 ประกาศราชกิจจานุเบกษา ฉบับประกาศทั่วไป เล่มที่ 113 ตอนพิเศษ 52 ลงวันที่ 25 ธันวาคม 2539 |
|
|
|
|
|
|
จำนวนประชากรทั้งหมด 7,403 คน แยกเป็น |

 |
ชาย 3,650 คน |
คิดเป็นร้อยละ 49.30 |

 |
หญิง 3,753 |
คิดเป็นร้อยละ 50.70 |
จำนวนครัวเรือนทั้งหมด 2,661 ครัวเรือน |
ความหนานแน่นเฉลี่ย 69.48 คน/ตารางกิโลเมตร |
|
 |
ทิศเหนือ |
ติดต่อกับ |
อบต.ห้วยไร่ |
อ.คอนสวรรค์ |
 |
|
ทิศใต้ |
ติดต่อกับ |
อบต. บ้านเล่า |
อ.เมืองชัยภูมิ |
|
 |
ทิศตะวันออก |
ติดต่อกับ |
อบต.โพนทอง |
อ.เมืองชัยภูมิ |
 |
|
ทิศตะวันตก |
ติดต่อกับ |
อบต.นาฝาย |
อ.เมืองชัยภูมิ |
|
|
|
|
|
|
|
 |
หมู่ที่ |
ชื่อหมู่บ้าน |
จำนวนประชากร |
ชาย |
หญิง |
รวม |
|
จำนวน
ครัวเรือน |
 |
|
1 |
|
บ้านนาเสียว |
280 |
287 |
567 |
307 |
|
 |
2 |
|
บ้านนาวัง |
359 |
400 |
759 |
328 |
 |
|
3 |
|
บ้านไทรงาม |
292 |
311 |
603 |
285 |
|
 |
4 |
|
บ้านซับรวงไทร |
346 |
333 |
679 |
28 |
 |
|
5 |
|
บ้านนาสีนวล |
393 |
379 |
772 |
275 |
|
 |
6 |
|
บ้านนาไก่เซา |
231 |
202 |
433 |
168 |
 |
|
7 |
|
บ้านนาสีนวล |
412 |
395 |
807 |
303 |
|
 |
8 |
|
บ้านนาเสียว |
186 |
238 |
424 |
178 |
 |
|
9 |
|
บ้านนาสีนวล |
384 |
396 |
780 |
231 |
|
 |
10 |
|
บ้านนาวัง |
292 |
287 |
579 |
215 |
 |
|
11 |
|
บ้านนาเสียว |
239 |
271 |
510 |
174 |
|
 |
12 |
|
บ้านไทรงาม |
236 |
254 |
490 |
169 |
 |
|
 |
|
|
รวม |
3,650 |
3,753 |
7,403 |
2,661 |
 |
|
|
ที่มา : ข้อมูลจากสำนักทะเบียนอำเภอเมืองชัยภูมิ ณ เดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2558 |
|
|
|
|
ประชากรส่วนใหญ่ร้อยละ 90 ประกอบอาชีพเกษตรกร ทำนา ทำไร่ และเลี้ยงสัตว์(โคเนื้อ) การทำนาสามารถทำได้ปีละ 1 ครั้งตามฤดูการ อาศัยแหล่งน้ำฝนตามธรรมชาติ ส่วนที่เหลือ ประกอบอาชีพค้าขายและรับจ้าง |
|
|
|
|
|
|
ตำบลนาเสียว สูงจากระดับน้ำทะเลประมาณ 185 - 190 เมตรสภาพพื้นที่มีลักษณะเป็นที่ราบสูง ส่วนใหญ่เป็นพื้นที่ป่าและพื้นที่ทำการเกษตร เกษตรกรส่วนใหญ่อาศัยน้ำจากบ่อบาดาลของตนเอง และอาศัยน้ำฝน ในการใช้ ทำนา ทำไร่ และทำสวน แต่ในช่วงฤดูแล้ง มักจะเจอปัญหาขาดแคลนน้ำเพื่อการเกษตร น้ำเพื่อการอุปโภค - บริโภค |
|
|